อ่านข่าว “นาแปลงใหญ่” พลันนึกถึง “นาแปลงน้อย”
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วนี่เอง ผมอ่านข่าวที่ระบุไว้ว่าเป็นข่าวประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ “มติชนออนไลน์” ก็จัดการปรินต์ไว้ทันที ตั้งใจจะนำมาเขียนถึงในสัปดาห์นี้
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วนี่เอง ผมอ่านข่าวที่ระบุไว้ว่าเป็นข่าวประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ “มติชนออนไลน์” ก็จัดการปรินต์ไว้ทันที ตั้งใจจะนำมาเขียนถึงในสัปดาห์นี้
ผมเคยเรียนท่านผู้อ่านไว้หลายครั้งแล้วว่า แม้ผมจะไม่เห็นด้วยกับนโยบายแจกเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลต่างๆ เลย แต่ก็แสดงความเห็นคัดค้านได้ไม่เต็มปาก
การเดินทางโดยขบวนรถไฟพิเศษ 995 จากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ไปยังจังหวัดชลบุรีและระยอง เมื่อวันเสาร์ที่ 4 พ.ย. ของนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน นับเป็นสาเหตุอันสำคัญยิ่งที่ผมจะเขียนขอบคุณท่านถึง 2 ประการในวันนี้
ข้อเขียนของผมวันนี้ เก็บตกมาจากหน้า 16 ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐฉบับวันอาทิตย์เมื่อวานนี้ (29 ตุลาคม 2566) ว่าด้วยความคิดเห็นเกี่ยวกับการ “แต่งตัว” ของนายกรัฐมนตรีท่านปัจจุบัน “เศรษฐา ทวีสิน” โดย “กูรู” แฟชั่นไทยถึง 2 รายด้วยกัน
เมื่อวานนี้ผมเขียนขอบคุณและปรบมือให้แก่ 99 นักเศรษฐศาสตร์ที่ลงนามคัดค้านนโยบายแจกเงินดิจิทัลรายละ 10,000 บาท ของรัฐบาลนี้ โดยเอ่ยถึงชื่อนักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญ 3-4 ท่าน ที่เคยมีบทบาทในการพัฒนาชาติบ้านเมืองมาแล้วในอดีต
ผมขอขอบคุณและขอปรบมือให้แก่นักเศรษฐศาสตร์ผู้กล้าหาญที่ตามข่าวบอกว่ารวมแล้ว 99 รายพอดิบพอดีที่ลงชื่อแสดงความคิดเห็นคัดค้านนโยบายแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาทแก่ประชาชนอายุ 16 ปีขึ้นไปของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
เมื่อตอนหนุ่มๆผมมีโรคประจำตัวอย่างหนึ่งคือโรค “หวาดระแวง” หรือโรค “ประสาทหลอน” เวลาไปเจอเรื่องอะไรๆ ที่ร้ายๆ หรือโหดๆ เข้าก็จะรู้สึกระแวง จดจำฝังใจไปนานแสนนาน
พรุ่งนี้วันเสาร์ที่ 23 กันยายน 2566 จะมีพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 19 ที่เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่เวลา 19.00 น.เป็นต้นไป
เมื่อวานนี้ผมเขียนถึง “วาระงาน” ของนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศ คุณเศรษฐา ทวีสิน ที่แน่นเอี้ยดตลอด 12 วันแรกหลังสิ้นสุดการประชุมเพื่อแถลงนโยบายต่อรัฐสภาของรัฐบาล ได้เป็นรัฐบาลร้อยเปอร์เซ็นต์ตามที่รัฐธรรมนูญระบุไว้
ผ่านไปเรียบร้อยโรงเรียนรัฐบาล “พรรคร่วม” ที่มีเพื่อไทยเป็นแกนกลางแล้วนะครับ สำหรับการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาอันเป็นเงื่อนไขสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ที่เราใช้เป็นหลักในการบริหารประเทศอยู่ในปัจจุบันนี้