การศึกษาไทย “ถอยหลัง” ข้อสังเกตจากธนาคารโลก
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วทีมงานของธนาคารโลกประจำประเทศไทย ออกมาตั้งโต๊ะแถลงข่าวเกี่ยวกับสถานภาพทางการศึกษาของประเทศไทย มีประเด็นที่น่าสนใจหลายๆ ประเด็น ผมขออนุญาตนำมาเผยแพร่ต่อในวันนี้นะครับ
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วทีมงานของธนาคารโลกประจำประเทศไทย ออกมาตั้งโต๊ะแถลงข่าวเกี่ยวกับสถานภาพทางการศึกษาของประเทศไทย มีประเด็นที่น่าสนใจหลายๆ ประเด็น ผมขออนุญาตนำมาเผยแพร่ต่อในวันนี้นะครับ
นี่แหละที่ผู้หลักผู้ใหญ่รุ่นเก่าๆ ท่านพูดกันอยู่เสมอว่า คนเราเวลามีเคราะห์ หรือมีเรื่องร้ายๆ อะไรเกิดขึ้นละก็มักจะมีซ้ำๆ ซากๆ ตามมาอยู่เสมอๆ
เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 ก่อนวัน “พ่อแห่งชาติ” 1 วัน มีข่าวดี ข่าวหนึ่งเกิดขึ้นแก่ประเทศไทยของเรา สมควรแก่การนำมาบันทึกไว้ เพื่อความภาคภูมิใจของคนไทยและลูกหลานในอนาคต
ผมชอบหน้าหนาวหรือฤดูหนาวครับ ซึ่งก็คงจะเป็นความชอบที่เหมือนๆ หรือคล้ายๆ กับพี่น้องชาวไทยทั้งประเทศนั่นเอง
มีถ้อยคำฮิตอยู่คำหนึ่งที่ผมได้ยินทางสภาพัฒน์ หรือนักเศรษฐศาสตร์หลายๆ ท่านหลายๆ สำนักพูดถึงอยู่เสมอ คือคำว่า “ความสามารถในการแข่งขัน”
กลับมาอีกครั้งกับงานศิลปะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย “Bangkok Art Biennale 2020” (BAB 2020) ที่จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี โดยเจ้าภาพใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ร่วมกับภาครัฐและเอกชนอีกมากมาย
ผมเรียนท่านผู้อ่านมาแล้วหลายๆครั้งว่า ผมเป็นนักสมานฉันท์คนหนึ่ง ตลอดระยะเวลาที่เขียนหนังสือมาร่วมๆ 50 ปี ไม่เคยมีจุดยืนเป็นอย่างอื่น นอกจากจะขอร้องไม่ให้คนไทยทะเลาะกัน จะเห็นต่างกันอย่างไร? จะคิดต่างกันอย่างไร? เมื่อได้แสดงความคิดความเห็นกันแล้ว ก็ขอให้จบเป็นเรื่องๆ ไป
เมื่อ 2 วันก่อนมีข่าวใหญ่อยู่ข่าวหนึ่งเกิดขึ้นในบ้านเรา แต่โดนข่าวม็อบกลบเสียจนกลายเป็นข่าวเล็กไปถนัดใจ ข่าวสุภาพสตรีชาวฝรั่งเศสมาติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศไทย ทั้งๆ ที่ผ่านการกักตัว 14 วัน จึงออกไปเที่ยวพักผ่อนที่สมุย…แล้วก็ไปเกิดอาการขึ้นที่นั่น…นั่นแหละครับ
ผมเขียนต้นฉบับวันนี้เมื่อบ่ายแก่ๆ ของวันจันทร์ที่ผ่านมาครับ เหตุที่ต้องระบุวันและเวลาไว้ก็เพราะสถานการณ์ของเรื่องที่ผมจะเขียนถึงนั้นเปลี่ยนแปลงเร็วมาก เลยต้องเขียนเป็นเชิงออกตัวไว้ก่อนว่าเขียนเมื่อนั่นนะ เมื่อนี่นะ…เผื่อไว้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นมาจริงๆ ข้อเขียนจะได้ไม่เชยจนเกินไปว่างั้นเถอะ