ทวงคืน “ประชารัฐ” จากคน “ไม่รู้” คุณค่า
เมื่อวานนี้ผมเล่าถึงคำว่า “ประชารัฐ” ที่เกิดขึ้นตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) แต่โดนแช่แข็ง “แน่นิ่ง” ตามระบบ “แพลนนิ่ง” แบบไทยๆ มาถึง 18-19 ปี
เมื่อวานนี้ผมเล่าถึงคำว่า “ประชารัฐ” ที่เกิดขึ้นตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) แต่โดนแช่แข็ง “แน่นิ่ง” ตามระบบ “แพลนนิ่ง” แบบไทยๆ มาถึง 18-19 ปี
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐฉบับล่วงหน้าวันจันทร์ที่ 13 กันยายน พาดหัวตัวยักษ์ไว้ว่า “เด็ก พปชร. ระส่ำระสาย”
ท่านผู้อ่านคงจำได้ว่า ในช่วงที่รัฐบาล “บิ๊กตู่” ยุค คสช. ได้เสนอโมเดลพัฒนาประเทศ “ไทยแลนด์ 4.0” จนทำให้ตัวเลข 4.0 โด่งดังเป็นพลุแตก จนแทบจะกลายเป็นตัวเลขสามัญประจำบ้านดังที่ผมเขียนไว้เมื่อ 2 วันที่แล้วนั้น
ผมเคยเขียนถึงคำว่า “ประชารัฐ” ไว้แล้วหนหนึ่ง ในคอลัมน์นี้ โดยเล่าอย่างคร่าวๆ ว่า คำนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร? และนำมาใช้ในความหมายเช่นไร?
สัปดาห์ที่ผ่านมาประเทศไทยได้สูญเสียทรัพยากรบุคคลอันทรงคุณค่าอย่างยิ่งไปอีกท่านหนึ่ง ได้แก่ ท่านศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปด้านการเมือง อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และ ฯลฯ
พอบิ๊กตู่ท่านยอมรับว่าท่านเป็นนักการเมือง และแสดงท่าทีว่าพร้อมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนนอกหลังการเลือกตั้งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นตามโรดแม็ปที่กำหนดไว้