บทสรุป “รักษ์ป่าน่าน” ตัวอย่าง “คนรวยช่วยคนจน”
ไม่บ่อยนักที่ผมจะเขียนติดต่อกันในเรื่องเดียวกันแบบ “มินิซีรีส์” ดังเช่นที่เขียนถึง “น่านแซนด์บ็อกซ์” โครงการทดลองเพื่อฟื้นฟูป่าน่านมาตลอดสัปดาห์นี้
ไม่บ่อยนักที่ผมจะเขียนติดต่อกันในเรื่องเดียวกันแบบ “มินิซีรีส์” ดังเช่นที่เขียนถึง “น่านแซนด์บ็อกซ์” โครงการทดลองเพื่อฟื้นฟูป่าน่านมาตลอดสัปดาห์นี้
เมื่อวานนี้ผมเล่าเรื่องความคืบหน้าของโครงการ “น่านแซนด์บ็อกซ์” มาจบลงที่ข้อเสนอว่าควรจะต้องค้นหา “หญ้ายา” หรือพืชที่มีสรรพคุณทางยา (ราคาแพง) มาปลูกใต้ต้นไม้ในป่าไม้เมืองน่าน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ที่ค่อนข้างดี อยู่กินอย่างสมบูรณ์พูนสุข
มินิซีรีส์เรื่อง “น่านแซนด์บ็อกซ์” ตอนที่แล้วจบลงด้วยความคิดที่ว่าจะหาพืชอะไร? ที่มีราคามาให้เกษตรกรน่านปลูกแทน ข้าวโพดในอนาคต ภายใต้ร่มเงาของป่าที่ปลูกขึ้นใหม่
จากสไลด์และการบรรยายสรุป ณ ห้องอาหารของ “บ้านเจ้าสัว” ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน ที่คุณบัณฑูร ล่ำซำ ปลูกไว้เพื่อเป็นบ้านพัก ขณะไปปฏิบัติภารกิจที่เมืองน่าน
เมื่อวานนี้ผมเขียนถึงคลิปปาฐกถานำในการเปิดงานสัมมนาของ THE STANDARD โดย “เจ้าสัว” บัณฑูร ล่ำซำ อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย
เขียนถึงสงครามโควิด-19 มาหลายวัน ยิ่งเขียนยิ่งเครียด เพราะ ยอดติดเชื้อรายวันยังพุ่งไม่หยุด ขอเปลี่ยนบรรยากาศไปสู่อีกสงครามหนึ่งที่สู้กันมานาน แม้เรายังไม่ชนะแต่เครียดน้อยกว่า…นั่นก็คือสงครามตัดไม้ ทำลายป่านำไปสู่ภาวะโลกร้อน และอากาศแปรปรวน
เมื่อเดือนเมษายนปีกลาย ผมและคุณระวิ โหลทอง เจ้าพ่อสยามสปอร์ต มีโอกาสเข้าพบและไปสัมภาษณ์พูดคุยกับคุณบัณฑูร ล่ำซำ ซึ่งเพิ่งอำลาจากตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของธนาคารกสิกรไทยหมาดๆ พร้อมกับได้นำคำตอบจากคุณบัณฑูรมาเขียนในคอลัมน์นี้ถึง 3 วันต็มๆ