บันทึก “ภูเขาทอง” 2568 ศรัทธา+ศักดิ์สิทธิ์+สวยงาม
เมื่อวันพุธที่ผ่านมาผมเขียนถึง “พระบรมบรรพต” หรือ “ภูเขาทอง” วัดสระเกศ เรียนให้ท่านผู้อ่านทราบว่า พวกเราจากกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ภายใต้การนำของรองหัวหน้ากองบรรณาธิการคุณเพ็ชรากรณ์ วัชรพล
เมื่อวันพุธที่ผ่านมาผมเขียนถึง “พระบรมบรรพต” หรือ “ภูเขาทอง” วัดสระเกศ เรียนให้ท่านผู้อ่านทราบว่า พวกเราจากกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ภายใต้การนำของรองหัวหน้ากองบรรณาธิการคุณเพ็ชรากรณ์ วัชรพล
แถลงข่าวไปแล้วเมื่อ 2 สัปดาห์ก่อนว่า เทศกาลบอลลูนนานาชาติ เพื่อเติมความหวานให้แก่วันวาเลนไทน์ปีนี้ ที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “Singha Park Chiangrai International Balloon Fiesta 2025”
เช้าตรู่วันนี้ (อาทิตย์ที่ 26 มกราคม 2568 เวลา 05.00น.) แล้วนะครับ ที่กิจกรรม สุดท้ายของมหกรรม “สุขเต็มสิบ” เพื่อร่วมเฉลิมฉลองพิธีเปิดใช้สะพาน “ทศมราชัน” หรือ “สะพานพระราม 10” ในการเรียกขานของประชาชนชาวไทยจะเริ่มขึ้น
อย่างที่เกริ่นไว้ในคอลัมน์ “เสาร์สารพัน” เมื่อวานนี้ว่า ซอกแซกสัปดาห์นี้จะเขียนแนะนำงาน “ตรุษจีน 2568” ที่มีการจัดขึ้นทั่วประเทศ และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อย่างแพร่หลายตามสื่อออนไลน์ต่างๆ
อย่างที่เกริ่นไว้ในคอลัมน์พิเศษ “เสาร์สารพัน” เมื่อวานนี้แหละครับ…ว่า วันนี้คอลัมน์ “ซูมซอกแซก” ทั้งคอลัมน์จะยกให้แก่เด็กๆ เพื่อแนะนำสถานที่เที่ยวซึ่งจะได้ทั้งความสนุกและความรอบรู้
นับจากวันนี้ไป ก็อีกเพียง 2 วัน พี่น้องชาวไทยทั่วประเทศก็จะได้เวลาส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ 2568 กันละครับ และก็เป็นธรรมเนียมอันดีงามของพวกเราชาวไทย
เกริ่นๆ มาหลายสัปดาห์แล้วว่าจะเขียนเชิญชวนท่านผู้อ่านไปตระเวนดูไฟตามห้างต่างๆ ที่เริ่มประดับประดากันมาตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายน แต่บังเอิญยังไม่พร้อมก็เลยผัดผ่อนไว้
นับว่าปี พ.ศ.2567 ที่ใกล้จะผ่านไปอีกไม่กี่วันข้างหน้านี้ เป็นปี “มหามงคล” อย่างยิ่งสำหรับพวกเราชาวไทย โดย เฉพาะสำหรับพี่น้องพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ เพราะได้มีโอกาสเข้าร่วมในพิธีสักการะพระบรมสารีริกธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ไปดูชมกันหรือยังครับ “วิจิตรเจ้าพระยา 2567” การประดับประดาตกแต่ง 2 ฝั่งลำน้ำเจ้าพระยารวมทั้งสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาหลายแห่ง ด้วยไฟฟ้าและระบบแสงสีเสียงสื่อผสมอันตระการตาสมกับชื่อ “วิจิตรเจ้าพระยา” ที่ตั้งไว้ทุกประการ
จากวันนี้ (อาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน 2567) เป็นต้นไป ก็อีกเพียง 5 วันเท่านั้น จะถึง “วันลอยกระทง” วันแห่งพิธีกรรมและการเฉลิมฉลองอันยิ่งใหญ่ ที่คนไทยได้ประพฤติปฏิบัติติดต่อกันมาร่วมๆ 800 ปี นับตั้งแต่ยุคกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี