ฝาก “แบงก์ชาติ” อีกครั้ง กรณี “แบงก์ล้ม” ที่อเมริกา
เมื่อวานนี้ผมเขียนเปรียบเทียบ กรณี “แบงก์ล้ม” ที่อเมริกาว่าเหมือน “ฝนตก” ที่โน่น แต่กลัวว่านํ้าจะไหลบ่า “มาท่วม” ในบ้านเรา เพราะโลกยุคปัจจุบันนั้นแคบเหลือเกิน
เมื่อวานนี้ผมเขียนเปรียบเทียบ กรณี “แบงก์ล้ม” ที่อเมริกาว่าเหมือน “ฝนตก” ที่โน่น แต่กลัวว่านํ้าจะไหลบ่า “มาท่วม” ในบ้านเรา เพราะโลกยุคปัจจุบันนั้นแคบเหลือเกิน
ในขณะที่การหาเสียงสำหรับการเลือกตั้งครั้งต่อไปของประเทศไทยกำลังดำเนินไปอย่างเข้มข้น ทั้งๆ ที่ยังไม่มีการยุบสภานั้นเอง
ผมขออนุญาตท่านผู้อ่านรายงานเรื่อง “หลวงพระบาง” อีกสักวันนะครับ ก่อนที่จะกลับสู่มิติเดิม เขียนถึงเรื่องราวในประเทศไทยของเราต่อไป
วัตถุประสงค์หลักของการเดินทางไปหลวงพระบางของผมครั้งนี้ อยู่ที่เขื่อน “ไซยะบุรี” เขื่อนผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ 1 ใน “แบตเตอรี่” ผลิตไฟ เพื่อจำหน่ายแก่ประเทศเพื่อนบ้านของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนั่นเอง
ผมเรียนท่านผู้อ่านแล้วว่า ผมชะแว้บไปหลวงพระบาง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวมา 3 วัน กับ 2 คืน แต่ที่ยังไม่เขียน “เล่าลาว” เหมือนคุณ “กิเลน ประลองเชิง” หน้า 3 ก็เพราะผมยังติดค้างเรื่อง “เล่าน่าน” อยู่
ได้เวลาชวนเที่ยวงานชวนอ่านหนังสือและฟังเพลงย้อนยุค (ถ้ามี) ตามสไตล์ “เสาร์สารพัน” อีกแล้วครับ วันนี้ (เสาร์ที่ 11 มีนาคม) ขอเริ่มด้วยงานที่ควรจะใหญ่ที่สุดของเดือนนี้ เพราะเป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อ “ช้าง” สัตว์ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย
ไม่บ่อยนักที่ผมจะเขียนติดต่อกันในเรื่องเดียวกันแบบ “มินิซีรีส์” ดังเช่นที่เขียนถึง “น่านแซนด์บ็อกซ์” โครงการทดลองเพื่อฟื้นฟูป่าน่านมาตลอดสัปดาห์นี้
เมื่อวานนี้ผมเล่าเรื่องความคืบหน้าของโครงการ “น่านแซนด์บ็อกซ์” มาจบลงที่ข้อเสนอว่าควรจะต้องค้นหา “หญ้ายา” หรือพืชที่มีสรรพคุณทางยา (ราคาแพง) มาปลูกใต้ต้นไม้ในป่าไม้เมืองน่าน เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ที่ค่อนข้างดี อยู่กินอย่างสมบูรณ์พูนสุข
มินิซีรีส์เรื่อง “น่านแซนด์บ็อกซ์” ตอนที่แล้วจบลงด้วยความคิดที่ว่าจะหาพืชอะไร? ที่มีราคามาให้เกษตรกรน่านปลูกแทน ข้าวโพดในอนาคต ภายใต้ร่มเงาของป่าที่ปลูกขึ้นใหม่
จากสไลด์และการบรรยายสรุป ณ ห้องอาหารของ “บ้านเจ้าสัว” ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน ที่คุณบัณฑูร ล่ำซำ ปลูกไว้เพื่อเป็นบ้านพัก ขณะไปปฏิบัติภารกิจที่เมืองน่าน