Tag Archives: สภาพัฒน์

เวียนหัว “GDP” ไทย สำนักไหนน่าเชื่อที่สุด?

ในช่วงที่ผมหลบไปเที่ยวอินโดนีเซียเสียหลายวันนั้น ข่าวฮิตข่าวหนึ่งในบ้านเราก็คือข่าวตัวเลข GDP ของกระทรวงการคลังหลุด แต่แล้วก็มีการลบทิ้ง และต่อมาจึงมีการแถลงจากกระทรวงการคลังด้วยข้อมูลหรือตัวเลขเดียวกันกับที่หลุดออกมานั่นเอง

กระตุ้นเศรษฐกิจ ดีที่สุด “ทำงาน” ไม่ใช่ “แจกเงิน”

เมื่อวันอังคารที่ 2 มกราคมที่ผ่านมานี้เองศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้ออกมาแถลงถึงสถานการณ์เศรษฐกิจในปีกระต่าย (2566) ที่เพิ่งจากไปและคาดการณ์ว่าในปีมะโรงหรือปีมังกร 2567 เศรษฐกิจไทยเราจะเป็นอย่างไรบ้าง?

ฝากนักการเมืองไว้ด้วย อย่าให้ “ข่าวดี” เป็น “ข่าวร้าย”

ผมเรียนท่านผู้อ่านไว้แล้วว่า “วันลอยกระทง” ของเรานั้นสามารถนำมาใช้เป็นเครื่อง “ชี้วัด” ทางเศรษฐกิจได้อย่างดียิ่ง ไม่แพ้เครื่องชี้วัดทางวิชาการที่นักเศรษฐศาสตร์เขานิยมใช้เลยทีเดียว

“ธนาคารสมอง” ถึงไหนแล้ว? 20 ปี พระดำรัสสู่ “การปฏิบัติ”

ผมได้รับข่าวสารเชิงประชาสัมพันธ์จากสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติข่าวหนึ่ง…อ่านจบแล้วในฐานะพสกนิกรที่สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยอย่างหาที่สุดมิได้…ผมเห็นว่าควรจะรีบนำลงเผยแพร่ต่อทันที

คำเตือนจาก “สภาพัฒน์” รับมือ “แรงกระแทก” รอบโลก

เมื่อกลางสัปดาห์ที่แล้ว ท่านเลขาธิการสภาพัฒน์ ดนุชา พิชยนันท์ ไปขึ้นเวทีอภิปรายในงานสัมมนา “สู่โอกาสใหม่ Stronger Thailand” ของเครือมติชน แสดงความคิดเห็นว่า เศรษฐกิจไทยปีนี้น่าจะขยายตัว ได้ระหว่าง 2.5-3.5 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่ากลางอยู่ที่ 3 เปอร์เซ็นต์

117 ปี บ้าน “สุริยานุวัตร” จาก “ตำรา” สู่ “แผนพัฒนา”

หัวหน้าทีมซอกแซกได้รับหนังสือปกแข็งพิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์อย่างดี และเสริมด้วยกระดาษอาร์ตในส่วนที่ใช้จัดพิมพ์รูปภาพอันสำคัญยิ่ง รวมแล้วหนากว่า 240 หน้า จำนวน 3 เล่ม เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว

ให้กำลังใจ “คนช่างฝัน” เดินหน้าสู่ “แผนพัฒนา 13”

เมื่อวานนี้ผมเขียนแนะนำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570) มาจนถึงช่วงที่ว่าแผนพัฒนาฉบับนี้ ได้กำหนดหมุดหมายไว้ 13 ประการ…ก็พอดีจบคอลัมน์เสียก่อน

“หมุดหมาย” แผนพัฒนาฯ 13 มุ่ง “พลิกโฉม” ประเทศไทย

ช่วงนี้เป็นช่วงที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า “สภาพัฒน์” กำลังอยู่ระหว่างการระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ที่จะประกาศใช้ในปี 2566 ถึงปี 2570 เป็นเวลา 5 ปี

เรียนรู้แผน “ฮัลยู” เกาหลี ส่งออก “วัฒนธรรม” พิชิตโลก

เมื่อวานนี้ ผมเขียนแสดงความยินดีย้อนหลังโดยอ้างรายงานของ “สภาพัฒน์” ที่ว่าประเทศไทยเราได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมสูงเป็นอันดับ 5 ของโลก จากการสำรวจของ CEO WORLD MAGAZINE

ยินดี “ประเทศไทย” ย้อนหลัง ติดอันดับ 5 “วัฒนธรรม” โลก

ผมได้รับจดหมายข่าวว่าด้วย “ภาวะสังคมไทยรายไตรมาส” ฉบับไตรมาส 3 ของสภาพัฒน์มาตั้งแต่กลางเดือนที่แล้ว เป็นกระดาษแค่ 2 แผ่น…แผ่นแรกเป็นจดหมายนำส่งเอกสารจากสำนักงานและแผ่นสองสำเนาภาพถ่ายหน้า 1 ของเอกสารชุดนี้