ทวงคืน “ประชารัฐ” จากคน “ไม่รู้” คุณค่า
เมื่อวานนี้ผมเล่าถึงคำว่า “ประชารัฐ” ที่เกิดขึ้นตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) แต่โดนแช่แข็ง “แน่นิ่ง” ตามระบบ “แพลนนิ่ง” แบบไทยๆ มาถึง 18-19 ปี
เมื่อวานนี้ผมเล่าถึงคำว่า “ประชารัฐ” ที่เกิดขึ้นตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) แต่โดนแช่แข็ง “แน่นิ่ง” ตามระบบ “แพลนนิ่ง” แบบไทยๆ มาถึง 18-19 ปี
ผมอ่านข่าวความเคลื่อนไหวทางการเมือง ว่าด้วยเรื่อง “ส.ส.ย้ายพรรค” ที่เกิดขึ้นในช่วงนี้แล้ว ก็รู้สึกใจหายและเสียดายพรรค “พลังประชารัฐ” เป็นที่สุด
เมื่อปลายสัปดาห์ที่แล้ว ผมได้รับเชิญไปร่วมงานเลี้ยงอาหารคํ่างานหนึ่ง ปรากฏว่าไปเจอบุคคลสำคัญที่เคยเป็นข่าวใหญ่ทางการเมืองท่านหนึ่งอย่างไม่คาดฝัน และมีโอกาสได้พูดได้คุยกับท่านเป็นเวลายาวนานพอสมควรทีเดียว
ผมเรียนท่านผู้อ่านไว้แล้วว่า ผมไม่เคยดูละครโทรทัศน์ชุดจักรๆ วงศ์ๆ เรื่อง “4 ยอดกุมาร” ของช่อง 7 สีมาก่อนเลย จึงไม่ทราบว่าเรื่องราวเป็นอย่างไร? และกุมารทั้ง 4 มีความเก่งกาจอย่างไรบ้าง?
คำว่า “กาลเทศะ” นั้นพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ท่านให้อ่านว่า “กาละเทศะ” และให้ความหมายไว้ว่า “ความควร ไม่ควร”
ถึงแม้ว่าผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการจะยังไม่เกิดขึ้น จนกว่าจะถึงวันที่ 9 พฤษภาคม อย่างที่ กกต.ท่านแจ้งไว้ว่า ท่านจะประกาศผลในวันนั้น
ผ่านไปเรียบร้อยแล้วนะครับ การเลือกตั้งครั้งแรกในรอบ 8 ปีของประเทศไทย เมื่อ 24 มีนาคม แม้ผลที่ กกต.แถลงมาจะยังไม่เป็นทางการ แต่ก็พอที่จะนำมาวิเคราะห์โน่นนี่ได้เยอะ
ประกาศออกมาอย่างชัดเจนแล้วนะครับว่า พรรคประชาธิปัตย์จะไม่สนับสนุนนายกรัฐมนตรีปัจจุบัน “บิ๊กตู่” ให้เป็นนายกฯ คนต่อไป ภายหลังการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562
เป็นอันว่าโบกมืออำลาตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ สำหรับ 4 ท่านที่มีตำแหน่งสำคัญอยู่ในพรรคพลังประชารัฐ เมื่อเวลาประมาณ 10 โมงเช้าของวันอังคารที่ 29 มกราคมที่ผ่านมา